คุณสมบัติของฉนวน

การเลือกใช้งานฉนวนให้เหมาะสมกับการใช้งาน นับว่าไม่ใช่เรื่องที่ง่ายนัก หากวิศวกรหรือผู้ที่เกี่ยวข้องไม่มีความรู้ความเข้าใจ ชนิด และคุณสมบัติของวัสดุฉนวนโดยตลอด การตัดสินใจย่อมผิดพลาดได้ง่าย ในบทนี้จึงเป็นการกล่าวถึงชนิดพื้นฐานของฉนวน และคุณสมบัติที่สำคัญในการเลือกใช้งานฉนวนให้เหมาะสมกับงานที่ต้องการประยุกต์ใช้

Newsคุณสมบัติของฉนวน

ฉนวนใยแก้ว (Glass Fiber)

ฉนวนใยแก้ว ผลิตขึ้นมาจากฟั่นก้อนแก้วแข็งด้วยการปั่นจนเป็นเส้นเกลียวบาง ฉนวนชนิดนี้ที่ทำออกมามีทั้งลักษณะแบบลูสฟิลล์แบบแผ่นอัด (Boards) และเส้นใยอัดเป็นแผ่นหรือแบบคลุมหรือห่ม ฉนวนแบบเส้นใยอัดเป็นแผ่นหรือแบบคลุมหรือห่มโดยทั่วไปจะมีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 9.61 ถึง 16.02 kg/m3 และจากผลของเส้นใยที่ยาว วัสดุชนิดนี้จึงมีแนวโน้มที่จะคืนสภาพความหนาออกแบบใหม่ได้ภายหลังจากการบรรจุเมือใช้ลักษณะใยอัดเป็นแผ่น ซึ่งทำให้ฉนวนแบบลูสฟิลล์ที่ได้มีสภาพต้านทาน สำหรับใยแก้วแบบลูสฟิลล์ทำได้ด้วยการโม่ใยแก้วอัดเป็นแผ่น ซึ่งทำให้ฉนวนแบบลูสฟิลล์ที่ได้สภาพต้านทานความร้อนประมาณ 19.84 m.K/W และทั้งแบบลูสฟิลล์และแบบอัดเป็นแผ่นหรือคลุมของฉนวนใยแก้ว น้ำสามารถจะซึมเข้าไปได้เป็นจำนวนมากกว่า 180 perm-cm แต่การดูดซับน้ำไว้กลับน้อยไม่เกิน

Read More
Newsคุณสมบัติของฉนวน

ฉนวนโพลิยูรีเทน/โพลิไอโซไซยานูเรตโฟม (Polyurethane/Polyisocyanurate Foam)

โพลิยูรีเทน และโพลิไอโซไซยานูเรตโฟม คือ วัสดุฟูลออโรคาร์บอนที่พ่นให้เป็นโฟมโดยการที่จะให้มีโครงสร้างแข็งขึ้นอยู่กับการบ่ม โดยโฟมเหล่านี้มีทั้งการหล่อเป็นรูปแบบฐานแผ่นแข็งล่วงหน้า ที่อาจจะมีพื้นผิวอัดเป็นแผ่นหรืออาจไม่มีหรือรูปแบบฉนวนที่ฉีดเป็นฟองในชิ้นงาน หรือสเปรย์ในชิ้นงาน ฉนวนแบบนี้มีสภาพนำความร้อนประมาณ 0.016 ถึง 0.022 W/m.K ณ ความหนาแน่นเท่ากับ 32 kg/m3 แบบสเปรย์ในชิ้นงานจะมีความหนาแน่นเมื่อสเปรย์เรียบร้อยและประมาณ 32 – 48

Read More
Newsคุณสมบัติของฉนวน

ฉนวนแคลเซียมซิลิเกต (Calcium Silicate)

ฉนวนแคลเซียมซิลิเกต (Calcium Silicate) ฉนวนแคลเซียมซิลิเกต โดยธรรมชาติถือว่าเป็นฉนวนแบบเกรนนูลาร์ ประกอบด้วยไฮดรัสแคลเซี่ยมซิลิเกต โดยระหว่างกรรมวิธีการผลิต ไอน้ำจะเปลี่ยนรูปหินปูน และซิลิกาไปเป็นไฮดรัสแคลเซียมซิลิเกต ซึ่งสารประกอบชนิดนี้นับว่าเป็นองค์ประกอบที่แข็งแรง ทนทาน นอกจากนี้ยังมีความสามารถทนทานต่อความเปียกชื้นที่เกิดขึ้นบ่อย ๆ ได้ แคลเซียมซิลิเกตใช้งานได้ที่อุณหภูมิสูงสุดประมาณ 650 องศา ไม่เป็นวัสดุเป็นพิษ และไม่ปรากฏว่าสมรรถนะทางความร้อนจะลดลงตามอายุ แต่ผลของความชื้นที่ดูดซึมจะทำให้สมรรถนะทางความร้อนลดลงบ้าง อย่างไรก็ตาม

Read More
Newsคุณสมบัติของฉนวน

ฉนวนเซลลูลาร์กลาส (Cellular Glass)

ฉนวนเซลลูลาร์กลาส (Cellular Glass) ฉนวนเซลลูลาร์กลาส (Cellular Glass) หรือฉนวนแก้วแบบเซลล์เป็นวัสดุที่มีลักษณะเป็นโฟมแข็งก่อตัวขึ้นโดยการเป่าแก้วที่มีไฮโดรเจนซัลไฟด์ที่มีเซลล์ขนาดเล็กมาก โฟมแก้วที่ได้นี้จะมีความจุของเซลล์ที่ชิดกัน 100 เปอร์เซ็นต์ และเนื่องจากเป็นฉนวนที่ทำมาจากสารอนินทรีย์ จึงเป็นฉนวนที่สามารถกั้นความชื้นได้อย่างสมบูรณ์ ทั้งยังไม่ติดไฟด้วย ฉนวนชนิดนี้มีสภาพนำความร้อนปรากฏเท่ากับ 0.055 W/m.K สำหรับฉนวนที่มีความหนาแน่น 136.17 kg/ ซึ่งจะได้สภาพต้านทานความร้อนเท่ากับ 18.18 m.K/W

Read More
Newsคุณสมบัติของฉนวน

ฉนวนเพอร์ไลท์ (Perlite)

ฉนวนเพอร์ไลท์ (Perlite) หรือซิลิกาโฟม (Expanded Silica) ฉนวนเพอร์ไลท์แบบลูสฟิลล์ทำมาจากเม็ดแก้วภูเขาไฟแบบทราย ที่ถูกขยายตัวขึ้นจากเดิมราว 4 ถึง 10 เท่า ทำให้มีโครงสร้างเป็นฟองอากาศเล็กอยู่ภายใน เพอร์ไลท์ที่ผลิตขึ้นมาจะมีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 32 ถึง 176 kg/m3 แบบลูสฟิลล์มีสภาพนำความร้อนที่ขึ้นอยู่กับความหนาแน่น ที่ความหนาแน่น 32

Read More
Newsคุณสมบัติของฉนวน

ฉนวนโพลิสไตรีนโฟม (Polystyrene Foam)

ฉนวนโพลิสไตรีนโฟม (Polystyrene Foam) ฉนวนโพลิสไตรีนโฟมผลิตขึ้นมาใน 2 รูปแบบ คือ แบบโฟมอัดรีด (Extruded) และแบบโฟมหล่อ (Molded) โฟมที่ผลิตด้วยกระบวนการอัดรีด จะมีความหนาแน่นบรรจุมากกว่า มีรูปร่างที่คงที่มากกว่า และสามารถทนแรงกดและแรงดึงได้มากกว่าโฟมที่ผลิตด้วยกระบวนการหล่อแบบ ความหนาแน่นของโฟมแบบอัดรีด โดยปกติอยู่ในช่วง 28.84 ถึง 41.65

Read More
Newsคุณสมบัติของฉนวน

ฉนวนฟีโนลิคโฟม (Phenolic Foam)

ฉนวนฟีโนลิคโฟม (Phenolic Foam) ฉนวนฟีโนลิคโฟม เป็นฉนวนท่อที่ถูกหล่อแข็ง ทำจากวัสดุฟีโนลิคที่เป็นกลางทางเคมี กระบวนการในการผลิตประกอบด้วยการนำเรซินเหลวที่เย็นผสมในแม่พิมพ์ปิด จากนั้นทำให้สุญญากาศ สุญญากาศนี้จะทำให้สารผสมคงจุดเดือดและเดือดที่อุณหภูมิต่ำ โดยสารผสมคงจุดเดือน (Azeotrope) นี้จะใช้เป็นตัวเป่าให้เกิดเป็นโฟมขึ้นมา จากนั้นจะให้ความร้อนกับแม่พิมพ์เพื่อหัว ที่จะอัดรีดปฎิกริยาเชิงความร้อนด้านนอกให้สมบูรณ์ สำหรับสภาพนำความร้อนปรากฏของฟีโนลิคโฟม ที่มีความหนาแน่น 32 kg/m3 ประมาณ 0.033 m.K/W

Read More
Newsคุณสมบัติของฉนวน

ฉนวนใยเซลลูโลส

ฉนวนใยเซลลูโลส ผลิตขึ้นมาจากการนำไม้หรือกระดาษที่ใช้แล้วนำกลับมาใช้ใหม่ หรือรีไซเคิล (Recycle) ด้วยการแผ่และดึงให้กระจายออกทำการย่อยละเอียดจนเป็นปุ๋ย จากนั้นทำการประสานเข้าด้วยกันด้วยกรดบอแร็กซ์ บอแร๊กซ์ 5 โมล หรือส่วนผสมของวัสดุทั้งสองนี้ ซึ่งจะช่วยให้มีสภาพต้านทานการลุกไหม้ การดูดซับความชื้น และยับยั้งการเจริญเติบโตของฟังไจได้ในบางส่วนด้วย เนื่องจากฉนวนชนิดนี้นับเป็นฉนวนที่มีคุณสมบัติทางความร้อนดี ราคาถูก และผลิตด้วยกรรมวิธีง่ายจึงเป็นฉนวนที่นิยมชนิดหนึ่ง อย่างไรก็ตามสำหรับผู้ประกอบการผลิต สถาปนิก วิศวกร หรือช่างเทคนิคที่ออกแบบติดตั้งฉนวนที่เป็นมือใหม่ ไม่ชำนาญงาน

Read More
Newsคุณสมบัติของฉนวน

ฉนวนใยแร่ (Mineral rock)

ฉนวนใยแร่หรืออาจเรียกว่าหินแร่ (Mineral rock) หรือฝอยขี้โลหะ (Slag wool) ถูกผลิตขึ้นมาในลักษณะคล้ายคลึงกับฉนวนใยแก้ว โดยทั่วไปวัสดุที่นำมาใช้การผลิตแร่ คือ ขี้โลหะจากการผลิตเหล็กกล้า ทองแดง หรือตะกั่ว ฉนวนใยแร่จะมีรูปแบบคล้ายคลึงกับฉนวนใยแก้ว ทั้งการใช้งานก็มีลักษณะที่เหมือนกันทั้งในอาคารบ้านเรือนอาคารเชิงพาณิชย์ และอาคารอุตสาหกรรม ฉนวนใยแร่แบบเส้นใยอัดเป็นแผ่นและเป่าฝอยที่ผลิตขึ้นมาจะมีความหนาแน่นในช่วง 24.0 ถึง 40.0 kg/m3 สำหรับแบบเส้นใยอัดเป็นแผ่นจะมีสภาพต้านทานความร้อนประมาณ 22.40 ถึง

Read More
Newsคุณสมบัติของฉนวน

ฉนวนเวอร์มิคูไลท์

ฉนวนเวอร์มิคูไลท์ ทำจากไมกาซึ่งเป็นแร่ชนิดหนึ่งเป็นเกล็ด ๆ คล้ายกระจกเหมือนอนุภาคซิลิเกตที่มีน้ำเป็นส่วนประกอบ ในกระบวนการผลิต อนุภาคจะได้รับความร้อนอย่างรวดเร็วจนมีอุณหภูมิสูงระหว่าง 370 ถึง 540 องศา ลักษณะนี้เป็นสาเหตุให้น้ำถูกปิดกั้นที่จะกลายเป็นไอและล่อนเป็นเกล็ด ชั้นไมคา ด้วยการควบคุมดีกรีของการล่อนเป็นเกล็ด ความหนาแน่นของวัสดุที่ขยายตัวนี้จะทำให้อยู่ในช่วง 64 ถึง 160 kg/m โดยวัสดุที่มีความหนาแน่นต่ำจะมีขนาดอนุภาคเฉลี่ยประมาณ 6.5 มิลลิเมตร

Read More